คุณรู้หรือไม่? การเลือกซื้อหนังสือวิทยาศาสตร์แต่ละชนิดนั้นมีทั้ง หนังสือวิทยาศาสตร์ นอกจากจะพิจารณาเรื่องของการใช้งานไม่ว่าจะเป็น งบประมาณ คุณภาพ ความทนทาน ชื่อเสียงของแต่ละรุ่นแล้ว ยังควรพิจารณาในเรื่องของพื้นที่ในการจัดวางและพื้นที่ใช้สอยในหนังสือวิทยาศาสตร์อีกด้วย โดยวันนี้เราได้จัดอันดับ หนังสือวิทยาศาสตร์แบบที่มีคุณภาพดีมีประสิทธิภาพมาให้คุณได้เลือกกันแล้ว ดังนี้
2. หนังสือ 'วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีศึกษา: ความรู้ฉบับเบื้องต้น' ของเซร์ฆิโอ ซิสมอนโด
หนังสือขนาดจัมโบ้ (กว้าง 16.5 x สูง 24 cm) เข้าเล่มปกอ่อนจํานวน 376 หน้า แปลจาก An Introduction to Science and Technology Studies, Second Edition by Sergio Sismodo แปลโดย ปกรณ์ เลิศเสถียรชัย บรรณาธิการแปลโดย ชาญชัย ชัยสุขโกศล และกิตติศักดิ์ โถวสมบัติ __________________________ “บูรณาการความรู้” “สหวิทยาการ” “การข้ามสาขาวิชา” ดูจะเป็นคํายอดนิยม สําหรับการสร้างจุดขาย ทั้งแก่นโยบายอุดมศึกษา การวิจัย หลักสูตร ฯลฯ ในรอบสองถึงสามทศวรรษที่ผ่านมา คําเหล่านี้ดูท่าจะสะท้อนว่า แม้สาขาวิชาแต่ละอย่างจะสําคัญ แต่ก็ไม่เพียงพอสําหรับการแก้ปัญหาที่โลกร่วมสมัยต้องเผชิญ และแม้การบูรณาการเป็นไปได้หลายแบบ แต่การบูรณาการที่มักเป็นที่พูดถึงคือ ฟากหนึ่ง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กับอีกฟากหนึ่ง สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ อย่างไรก็ดี ก็มีความยุ่งยากภายใต้ม่านอันสวยงามของคําว่าบูรณาการนั้น เช่น อํานาจทางความรู้ที่ไม่เท่าเทียมกัน กล่าวคือ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เป็นไปในทางประยุกต์ ดูจะมีบทบาทนํามากกว่า ทั้งในแง่ของการเป็นคําอธิบายหลัก และการบริหารจัดการ อีกทั้งเป็นเป้าประสงค์หลัก โดยที่สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์เป็นแค่ส่วนประกอบที่ทําให้เกิดการยอมรับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนั้น หรือเป็นลูกไล่ กล่าวอีกนัยหนึ่ง บทบาทของสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ได้กลายเป็นเครื่องมือให้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเดินทางสู่เป้าหมายของการเกิดประโยชน์ใช้งานเท่านั้นเอง อีกด้านหนึ่ง ราวกับการโต้กลับ สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ก็รื้อถอนการอ้างถึงความเชื่อว่าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นหนทางสู่ความจริงเพียงเจ้าเดียว ดังที่ความรู้ในโลกร่วมสมัยมีความไม่แน่นอนสูงเสียจนมีการถามท้าการอ้างความถูกต้องของผู้เชี่ยวชาญ และการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีปัจจัยทางเศรษฐกิจและการเมืองขับเคลื่อนก็เป็นที่กังขาอย่างสูงยิ่ง คําถามเชิงจริยธรรมที่ข้องเกี่ยวกับการอยู่รอดของความเป็นมนุษย์และสรรพสิ่งก็เป็นประเด็นด้วยเช่นกัน โดยนัยนี้เอง บทบาทเชิงวิพากษ์ของสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ต่อวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจึงมีความต้องการสูงขึ้น แม้จะไม่ก่อให้เกิดโภคผลแบบจับต้องได้ในทันที แต่ก็เปิดพื้นที่แก่ประชาธิปไตย และเรียกร้องบทสนทนาระหว่างสองฟากความรู้นี้ ให้ข้ามพ้นแค่การหักล้าง แต่ไปสู่การร่วมสร้างอย่างเท่าเทียมกัน คําว่า STS มักจะโผล่ขึ้นมาในบริบทเช่นนี้ และทางที่จะเดินไปต่อสําหรับการร่วมสร้างนั้นก็เกี่ยวข้องกับคําถามว่า STS คืออะไร? คําตอบนี้ ทั้งในส่วนของประเทศไทยและระดับโลก มีอยู่สองความหมายด้วยกัน แบบแรก “วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม” (Science, Technology and Society) ที่ค่อนข้างเป็นการขับเคลื่อนเชิงปฏิบัติการ กล่าวคือ ในประเทศไทย ตลอดช่วงเวลาแทบจะครึ่งศตวรรษ มีการทํางานเพื่อสร้างเทคโนโลยีที่เหมาะสมสําหรับชุมชน สร้างแพทยศาสตร์และเภสัชศาสตร์ที่คํานึงถึงความเป็นมนุษย์และสังคม สร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในสังคม สร้างกระบวนการวิทยาศาสตร์ในการต่อสู้เพื่อความเป็นธรรมทางสิ่งแวดล้อมโดยภาคประชาชน ฯลฯ ความพยายามที่อยู่ที่ขอบแดนของสาขาวิชาเหล่านี้ล้วนดําเนินการไปด้วยหัวจิตหัวใจของการร่วมสร้างในแบบ STS แม้จะไม่ได้รู้จักคําว่า STS ก็ตามที (หรืออาจจะเรียกว่าผู้มาก่อนกาลของ STS ด้วยซ้ํา) อย่างไรก็ดี ภาคปฏิบัติการก็ยังไม่เพียงพอ เราก็ยังต้องการ STS ในอีกแบบหนึ่งมาประกอบด้วย อีกแบบหนึ่งของ STS ซึ่งเริ่มคุ้นหูมากขึ้นในระยะหลังคือ “วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีศึกษา” (Science and Technology Studies) ซึ่งมีความเป็นวิชาการมากกว่า แนวทางนี้เริ่มต้นจ
3. หนังสือ วิทยาศาสตร์แห่งความสําเร็จ
Se ed. หนังสือวิทยาศาสตร์ อาจวรงค์. วิทยาศาสตร์ของการใช้ชีวิต. ตําราโหราศาสตร์ฉบับสมบูรณ์. ประวัติศาสตร์โลกฉบับ. หนังสือโหราศาสตร์
4. หนังสือ วิทยาศาสตร์แห่งความเหงา
Se ed. วิทยาศาสตร์ของการใช้ชีวิต. ความลับของความสุข. หนังสือโหราศาสตร์. วิทยาศาสตร์. mastery
5. หนังสือวิทยาศาสตร์และพันธุศาสตร์ลายนิ้วมือ
“ลายนิ้วมือนั้นสําคัญไฉน” อ้อ สําคัญมากๆ เพราะมันเป็นตัวบ่งบอกว่าเป็นใครกันแน่ (ภาษาเขียนใช้ว่าพิสูจน์อัตลักษณ์บุคคล) เคยมีคดีที่ตํารวจจับผิดคนจากหลักฐานดีเอ็นเอ แต่มาไขปริศนาได้ภายหลังว่าคนร้ายตัวจริงมีดีเอ็นเอเหมือนคนที่ถูกจับแต่มีลายนิ้วมือไม่เหมือนกันเพราะเป็นคู่แฝดนั่นเอง) ลายนิ้วมือถูกสร้างขึ้นมาตั้งแต่ยังอยู่ในท้องแม่ราวสองเดือนจนถึงหกเดือนก็จะสมบูรณ์ไม่เปลี่ยนแปลงจนตลอดชีวิต (พูดง่ายๆคือตั้งแต่ลืมตาดูโลก แม้นิ้วมือจะเล็กเท่าฝาหอย ลายนิ้วมือก็จะไม่เปลี่ยนแปลงต่อให้ฝ่ามือโตเท่าใบลาน เช่นเป็นก้นหอย มัดหวาย หรือแบบโค้ง) นอกจากนั้นการวิจัยยังพบว่าคนที่มีพรสวรรค์/ความสามารถพิเศษ จะมีลายนิ้วมือที่เฉพาะเจาะจงบนนิ้วบางนิ้ว การพัฒนาองค์ความรู้ด้านลายนิ้วมือด้วยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ช่วยให้มีผู้สร้างโปรแกรมสําเร็จรูปทํานายความฉลาดของคนด้านต่างๆ 8-10 ด้านเพื่อคัดเลือกคนเข้าทํางาน หรือเลือกสาขาเรียนให้ลูกหลานได้ตรงกับความฉลาดแต่กําเนิด หนังสือเล่มนี้จะให้ความรู้พื้นฐาน ไม่ใช่โหราศาสตร์ แต่เป็นวิทยาศาสตร์ที่มีการพิสูจน์และใช้ประโยชน์มานานนับพันปี NoBrand
6. หนังสือวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์เพื่ออนาคต
เนื้อหาโดยสังเขป ข้อมูลเน้นๆ จากวงในการันตีโดยเหล่านักวิทยาศาสตร์เมื่อความรู้ด้านฟิสิกส์กลายเป็นกุญแจสําคัญ เปลี่ยนโฉมหน้าของโลกในศตวรรษที่กําลังจะมาถึง นับหมื่นนับแสนปีที่มนุษย์เฝ้ามองความเป็นไปของโลกด้วยความอัศจรรย์ใจ ความพยายามจะไขปริศนาของธรรมชาติได้ดําเนินมาจนถึงจุดสูงสุดแล้วในศตวรรษนี้ มนุษย์กําลังเปลี่ยนสถานะจากผู้สังเกตการณ์ธรรมชาติไปเป็นผู้ควบคุมธรรมชาติโดยมีวิทยาศาสตร์เป็นเครื่องมือหลักในการสร้างสรรค์ความแปลกใหม่เมื่อความเป็นไปได้จากห้องทดลองทั่วโลกดาหน้ากันมาท้าทายต่อมจินตนาการฟิสิกส์เพื่ออนาคต จึงเป็นหนังสือที่แสดงภาพสังคมโลกในอนาคตอย่างสมบูรณ์โดยอ้างอิงจากความพร้อมของวิทยาการที่ก้าวหน้าในปัจจุบัน สารบัญ บทที่ 1 อนาคตของคอมพิวเตอร์ บทที่ 2 อนาคตของปัญญาประดิษฐ์ (AI) บทที่ 3 อนาคตของการเเพทย์การพยาบาล บทที่ 4 นาโนเทคโนโลยี บทที่ 5 อนาคตของพลังงาน บทที่ 6 อนาคตของการท่องอวกาศ บทที่ 7 อนาคตของความมั่นคั่ง บทที่ 8 อนาคตของมวลมนุษยชาติ บทที่ 9 วันหนึ่งของชีวิตในปี 2100 NoBrand