ยาสำหรับเด็ก รุ่นไหนดี 6 อันดับ ที่น่าซื้อ อัพเดทล่าสุดปี 2567

ช้อปก่อนใคร คอลเลคชั่นใหม่ทุกแบรนด์ โปรสุดปัง ให้คุณช้อปสุดฟิน ชี้เป้าโปรโมชั่นสุดยิ่งใหญ่ เทศกาลส่วนลดให้กับลูกค้าสุดคุ้ม วันนี้มาแนะนำร้านออนไลน์ที่มีสินค้ามากมายให้เลือก เหมาะคนยุคใหม่มากๆ ที่เราไม่ต้องออกไปซื้อของข้างนอก
คุณภาพดี ราคาถูกมาก เราขอแนะนำ ยาสำหรับเด็ก  สินค้าทางอินเตอร์เน็ต  ราคาพิเศษส่งให้คุณลูกค้าถึงหน้าบ้าน สั่ง ยาสำหรับเด็ก  ไป ถูกจนไม่น่าเชื่อ สินค้าใส่ซองกันกระแทกมาตอนจัดส่งให้ด้วย ส่งเร็วทันใจ คุณภาพเยี่ยมพอดีเห็น ลดราคาลงมาอีก เลยจัดไป ได้รับสินค้าเรียบร้อย ส่งไว คุณภาพเยี่ยม ได้รับสินค้าแล้วดีใจมาก ตรงตามต้องการในรุป ไม่มีความเสียหายไดๆจากการขนส่ง

     คุณรู้หรือไม่? ว่าปัจจุบันนี้"ยาสำหรับเด็ก"นั้นโดยมีทั้ง ยาสำหรับเด็ก แล้วแบบนี้คุณจะทราบได้อย่างไรว่าในแต่ละรุ่นหรือประเภทนั้นมีความแตกต่างกันอย่างไร? หรือยาสำหรับเด็ก ยี่ห้อไหนดี? ราคาแพงไหม? ดังนั้นหากคุณเป็นคนหนึ่งที่กำลังมองหายาสำหรับเด็กดีๆสักรุ่น วันนี้เราได้จัดอันดับ แนะนำ ยาสำหรับเด็กคุณภาพดีมาให้คุณได้เลือกกันแล้วดังนี้

ข้อควรรู้! ยาสำหรับเด็ก แต่ละแบบ กินอย่างไร มีแบบไหนบ้าง
เมื่อมีลูกน้อยอยู่ในบ้าน สิ่งที่คุณแม่ขาดไม่ได้เลยก็คือ ยาสามัญประจำบ้าน ซึ่งเป็นสิ่งที่ต้องมีไว้ประจำตู้ยา ไม่ว่าจะเป็นยาแผนโบราณ หรือยาแผนปัจจุบัน เพื่อเอาไว้ใช้ในเวลาที่ลูกเจ็บป่วย หรือมีการบาดเจ็บที่ไม่รุนแรงมากนัก ซึ่งคุณพ่อคุณแม่สามารถดูอาการแล้วรักษาเองได้ มาดูข้อควรรู้เกี่ยวกับ ขนาดยาในเด็ก และ dose ยาสำหรับเด็ก ว่าใช้อย่างไรจึงจะปลอดภัยต่อลูกน้อยของคุณ
  • ยาลดไข้ สำหรับเด็กเล็ก ๆ ควรเป็นยาน้ำที่มีรสหวานหรือมีน้ำเชื่อม เพราะรับประทานได้ง่ายกว่ายาเม็ด เช่น ยาน้ำลดไข้พาราเซตามอล ซึ่งยานี้มีความปลอดภัยค่อนข้างสูง เพราะจัดอยู่ในกลุ่มยาสามัญประจำบ้าน ซึ่งหากใช้พาราเซตามอลน้ำเชื่อมใช้ขนาด 120 ถึง 125 มิลลิกรัม ต่อ 1 ช้อนชา รับประทานวันละ 3 - 4 ครั้ง ห่างกัน 4 - 6 ชั่วโมง จะใช้ตามเกณฑ์อายุ ดังนี้
    • เด็กแรกเกิด ถึง 3 เดือน ให้ครั้งละ 1/4 ช้อนชา (ครึ่งของครึ่งช้อนชา)
    • เด็ก 3 - 6 เดือน ให้ครั้งละ 1/2 ช้อนชา (ครึ่งช้อนชา)
    • เด็ก 2 - 5 ขวบ ให้ครั้งละ 1 ½ ช้อนชา
    • เด็ก 5 - 8 ขวบ ให้ครั้งละ 2 ช้อนชา
  • ยาแก้ไอ ควรใช้ยาแก้ไอน้ำเชื่อม ซึ่งคุณพ่อคุณแม่อาจเลือกใช้ยาแก้ไอขององค์การเภสัชกรรมที่จัดอยู่ในกลุ่มยาสามัญประจำบ้านอีกชนิดหนึ่ง  รับประทานวันละ 4 - 6 ครั้ง ห่างกัน 3 - 4 ชั่วโมง โดยใช้ขนาดยา ดังนี้
    • เด็กแรกเกิด ถึง 2 ขวบ ให้ครั้งละ 1/ 4 ช้อนชา
    • เด็ก 2 - 6 ขวบ ให้ครั้งละ 1/2 ข้อนชา
    • เด็ก 6 - 12 ขวบ ให้ครั้งละ 1 ช้อนชา
  • ยาแก้ท้องอืด เนื่องจากท้องอืดแน่นท้องเป็นอาการที่เกิดขึ้นเป็นบางช่วงเวลา ไม่ใช่การเจ็บป่วย ดังนั้น ยาที่สามารถใช้เพื่อบรรเทาอาการท้องอืดแน่นท้องในเด็กเล็กอาจจะเป็นได้ทั้งยาทา เช่น มหาหิงคุ์ โดยใช้ทาบาง ๆ บริเวณหน้าท้อง หรือยาสำหรับรับประทานหลายยี่ห้อที่มีขายตามร้านขายยาแผนปัจจุบัน เช่น เหล้าสะระแหน่ ขององค์การเภสัชกรรม หยดใส่น้ำให้กินก็ได้ หยดยาใส่น้ำจำนวนเท่าที่ประมาณว่า เด็กจะกินได้หมดผสมให้เข้ากัน วันละ 3 ครั้ง และ ห่างกันประมาณ 4 - 6 ชั่วโมง ซึ่งใช้ได้ผลดีและปลอดภัย โดยใช้ขนาดยา ดังนี้
    • เด็กแรกเกิด ถึง 2 ขวบ ใช้ครั้งละ 2 หยด
    • เด็ก 6 เดือน - 2 ขวบ ใช้ครั้งละ 4 หยด
    • เด็ก 2 - 5 ขวบ ใช้ครั้งละ 8 หยด
    • เด็ก 5 - 10 ขวบ ใช้ครั้งละ 12 หยด
แต่ไม่ว่าจะเป็นยาน้ำ ยาเม็ด หรือยาแคปซูล คุณพ่อคุณแม่ต้องดูฉลากยาประกอบด้วยทุกครั้งก่อนใช้ยา โดยต้องดูให้ตรงวัยและน้ำหนักตัวเพื่อความปลอดภัยของลูกน้อย และหากอาการของลูกยังไม่บรรเทาควรพาพบแพทย์ทันที
ช่วงเวลาที่ดูจะเป็นปัญหาและสร้างความวิตกกังวลให้กับคุณพ่อคุณแม่เกี่ยวกับลูกน้อยได้มากที่สุดคือ ช่วงเวลาที่ลูกน้อยมีอาการเจ็บป่วย ดังนั้น คุณพ่อคุณแม่ควรต้องมียาที่สามารถบรรเทาอาการของลูกน้อยในเบื้องต้นก่อนที่จะถึงมือคุณหมอ วันนี้เราจะมาสำรวจดูตู้ยาของลูกน้อยกันว่า ยาสำหรับเด็ก ที่ต้องมีไว้ติดบ้านมีอะไรกันบ้าง
  • ยาแก้ไข้เด็ก ยาลดไข้สำหรับเด็กควรต้องเป็นยาชนิดน้ำคือ ยาน้ำลดไข้ พาราเซตามอล ซึ่งยานี้มีความปลอดภัยค่อนข้างสูง เพราะจัดอยู่ในกลุ่มยาสามัญประจำบ้านที่คุณพ่อคุณแม่สามารถหาซื้อได้ตามร้านขายยาแผนปัจจุบัน หรืออาจจะในร้านสะดวกซื้อทั่วไป แต่ข้อสำคัญคือ ต้องใช้ในปริมาณที่กำหนดไว้ในฉลากยา ทั้งนี้เพื่อความปลอดภัยของลูกน้อย
  • ยาทาผื่นทารก ผดผื่นบนผิวหนังของทารกที่พบบ่อยที่สุดคือ ผื่นผ้าอ้อม ซึ่งเกิดจากการที่ผิวหนังของทารกเปียกชื้น หรือจากการหมักหมม มักพบได้บ่อยในทารกวัย 9 - 12 เดือน เพราะเป็นช่วงที่ทารกยังไม่สามารถเคลื่อนไหวได้เอง และเริ่มเปลี่ยนมารับประทานอาหารเด็กอ่อน ซึ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของความเป็นกรดในอุจจาระ ยาที่ควรมีไว้ในตู้ยาประจำบ้านคือ ผลิตภัณฑ์เคลือบผิวทาบริเวณที่ใส่ผ้าอ้อม อาจจะเป็นชนิดครีมหรือน้ำมัน ที่มีส่วนผสมของ Zinc Oxide หรือ Petrolatum หรือ Dimethicone เพื่อเคลือบปกป้องผิวไม่ให้เกิดการระคายเคือง หรือสัมผัสกับสารเคมี และความชื้น รวมถึงช่วยลดลดการเสียดสีของผ้าอ้อม
  • ยากันยุงเด็ก เป็นอีกหนึ่งผลิตภัณฑ์ที่ต้องมีติดบ้าน เพราะภัยร้ายที่มาจากยุงมาในหลากหลายรูปแบบ ตั้งแต่เป็นเม็ดผื่นคันบนผิวหนังไปจนถึงโรคร้ายต่าง ๆ ที่อาจถึงขั้นเสียชีวิตได้ คุณพ่อคุณแม่ควรเลือกซื้อยากันยุงสำหรับเด็กที่ปราศจากสารพิษอันตราย เช่น แอลกอฮอล์ สี หรือน้ำหอม ซึ่งมีให้เลือกทั้งแบบสเปรย์ โลชั่น และแบบครีม ที่เป็นผลิตภัณฑ์ออร์แกนิกสกัดจากธรรมชาติ หรือสารชีวสังเคราะห์ที่ไม่เป็นอันตรายต่อมนุษย์
  • ยาแก้ท้องอืดทารก อาการท้องอืดเกิดขึ้นจากหลายสาเหตุ เช่น นมไม่ย่อย การดูดลมเข้าไปขณะกินนมแม่หรือขณะดูดนมจากขวด ทำให้มีแก๊สในกระเพาะอาหาร เป็นต้น คุณพ่อคุณแม่สามารถเลือกซื้อยาแก้ท้องอืดสำหรับทารกได้จากร้านขายยาแผนปัจจุบัน หรืออาจจะลองใช้ วิธีกดจุดไล่ลมในท้อง ด้วยการวางทารกในท่านอนหงายแล้วนวดบริเวณหน้าท้องเบา ๆ เริ่มจากด้านขวาไปยังด้านซ้าย หรืออุ้มทารกขึ้น ให้คางพักอยู่บริเวณไหล่ของแม่ แล้วใช้มือตบหลังทารกเบา ๆ
แต่หากสังเกตว่า อาการยังไม่บรรเทาลงหลังจากการใช้ยาในเบื้องต้น คุณพ่อคุณแม่ควรพาลูกน้อยของคุณไปพบแพทย์